ตอนที่9:ข้อสะโพกเสื่อม
ข้อสะโพกเสื่อม
เรื่องของอายุและความเสื่อมของสุขภาพร่างกายเป็นสิ่งที่หลายๆคนนึกกลัวและกังวลไม่น้อย โรคข้อสะโพกเสื่อม เป็นโรคที่พบไม่ค่อยบ่อยในผู้สูงอายุ เริ่มพบได้ตั้งแต่อายุ 45 ปี แต่มักพบบ่อยเมื่ออายุมากกว่า 60 ปี เมื่ออายุน้อยผิวข้อที่มีผิวเรียบ มัน วาว แต่เมื่ออายุมากขึ้นผิวข้อจะมีการเสื่อมสภาพ ซึ่งรวมถึงเยื่อหุ้มข้อ เส้นเอ็นรอบข้อ และกระดูกที่ประกอบเป็นข้อ เมื่อผู้ป่วยอายุมากขึ้นมักมีน้ำหนักตัวที่มากขึ้นด้วย และเริ่มมีโครงสร้างภายในข้อไม่เป็นปกติ จึงเกิดความเปลี่ยนแปลงความผิดปกติภายในข้อ อันประกอบด้วย ผิวของข้อสะโพก ซึ่งเป็นกระดูกอ่อน เริ่มสึกหรอ ทำให้ผิวข้อไม่เรียบ การเคลื่อนไหวข้อ มีอาการติดขัด ฝืด หรือเสียงดังคล้ายกระดาษทรายถูกัน การกระจายการรับน้ำหนักของกระดูกผิวข้อ เริ่มผิดปกติ บางบริเวณมากขึ้น บางบริเวณน้อยลง ทำให้การรับน้ำหนักผิดปกติ มีอาการปวดเสียว เยื่อหุ้มข้อ ถูกระคายเคือง เกิดการอักเสบ และสร้างน้ำในข้อมากขึ้น ทำให้เกิดอาการปวด บวม กล้ามเนื้อรอบข้อสะโพก มีความแข็งแรงน้อยลง แรงกระแทกจึงเกิดกับผิวข้อมากขึ้น เอ็นยึดข้อ บางส่วนหย่อนยานขึ้น ทำให้ข้อแกว่ง หรือหลวมมากขึ้น เพิ่มการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติมากขึ้น กระดูกรอบข้อเกิดการปรับตัว โดยสร้างกระดูกงอกขึ้นภายในข้อ ทำให้ข้อเคลื่อนไหวได้น้อยลง กระดูกบริเวณข้อสะโพก และรอบ ๆ ข้อ บางลง เนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่เริ่มเดินน้อยลง
ปัจจัยเสี่ยง
- อายุ ยิ่งอายุมากขึ้นก็ยิ่งมีโอกาสเกิดกระดูกสะโพกหักมากขึ้น จากทั้งการเกิดภาวะกระ ดูกพรุน และปัญหาในการทรงตัวที่ทำให้เกิดการล้มได้ง่าย
- เพศ พบกระดูกสะโพกหักในผู้หญิงวัยหมดประจำเดือนสูงกว่าในผู้ชาย
- มีโรคเรื้อรังประจำตัว เช่น เบาหวาน เพราะส่งผลให้เกิดกระดูกพรุนได้ง่าย
- ภาวะทุโภชนา กินอาหารไม่มีประโยชน์ หรือขาดอาหาร กระดูกจึงอ่อนแอ หักได้ง่าย
- ไม่ได้ออกกำลังกาย จึงเกิดกระดูกพรุนได้ง่าย
- ผลข้างเคียงจากยาบางชนิดที่ใช้ต่อเนื่อง ที่ทำให้เกิดกระดูกพรุน เช่น ยาสเตียรอยด์
- สูบบุหรี่ และ/หรือดื่มสุรา เพราะทำให้เกิดโรคกระดูกพรุนได้สูง
โรคข้อสะโพกเสื่อม เป็นสิ่งที่หลายๆคนนึกกลัว แม้เราไม่สามารถเอาชนะกฎของธรรมชาติได้ แต่เราก็สามารถที่จะยืดเวลาในการใช้งานอวัยวะได้ด้วยเทคโนยีในด้านการแพทย์สมัยใหม่โดยอาศัยเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมมากขึ้นในด้านการแพทย์ และวิถีชีวิติความเป็นอยู่ ในสมัยที่เทคโนยีด้านการแพทย์เจริญก้าวหน้าขึ้นทำให้วิธีการรักษาเป็นไปได้มากขึ้นจนเหมือนเป็นเรื่องธรรมดาของความเจ็บป่วย การผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะต่างๆถือเป็นเรื่องปกติ โดยเฉพาะการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าและข้อสะโพกเทียมแต่ก็ยังมีผู้ป่วยอีกจำนวนไม่น้อยที่ยังกลัวและกังวลเกี่ยวกับการดูแลตนเองหลังทำการรักษา โดยเฉพาะหลังการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม แต่ท่านผู้อ่านสามารถสบายใจได้เกี่ยวกับการผ่าตัดทั้งข้อสะโพกและข้อเข่าเนื่องจากมีการศึกษาว่า ผู้ที่ได้รับการผ่าตัดข้อสะโพกเทียมหากได้รับความรู้ ความเข้าใจในการผ่าตัดและการฟื้นฟุสรรมภาพตั้งแต่ระยะก่อนการผ่าตัด โดยมีการสอนการใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน การเคลื่อนย้ายตัวเองบนเตียง การขึ้น-ลงบันได การป้องกันข้อสะโพกหลุด
วีธีการดูแลตนเองหลังการผ่าตัดข้อสะโพกทียม
ปญหาของการใชงานขอเทียมหล ังงการผาตัดเปลี่ยนขอเทียม คือกลามเนื้อรอบๆ ขอนั้นออนแรงและลีบ ซึ่งสวนใหญเกิดขึ้นกอนการผาตัด การเคลื่อนไหวขอถูกจํากัด เนื่องจากความกลัวเจ็บปวด ทําใหขอติดแข็งและจํากัดการเคล ื่อนไหวมากขึ้นและเจ็บปวดมากขึ้นเมื่อตองมีการเคลื่อนไหว หลังการฟนฟูสภาพผูปวยหลังงการผาตัดเปลี่ยนขอสะโพกเทียม มีวัตถุประสงคเพื่อใหผ ูปวยสามารถใชขอเทียมในการดำเนินชีวิตได้อยางใกลเคียงปกติที่สุด ในระยะแรกของการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม เริ่มตั้งแต่การเคลื่อนย้ายผู้ที่ได้รับการผ่าตัดจากเตียงผ่าตัดจะใช้หมอนสามเหลี่ยมวางระหว่างขาให้สะโพกกางไว้ 15 องศาและสามารถนอนตะแคงได้ กล้ามเนื้อรอบสะโพกหลังผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียมสามารถฟื้นความแข็งแรงได้ 50เปอร์เซนต์ ในเดือนที่ 3และ80เปอร์เซนต์ เดือนที่6
ขอควรปฏิบัติสําหรับผูปวยหลังผาตัดเปลี่ยนขอสะโพก
- กิจกรรมที่ผู้ทีผ่าตัดข้อสะโพกเทียมต้องระวัง
- การนั่งเก้าอ้เตี้ยเพราะหัวกระดูกสะโพกจะหลุด ถ้าได้รับการผ่าตัดทางด้านหลังผู้ผ่าตัดไม่ควรงอสะโพกเมากกว่า 90 องศาการหลุดในทิศทางไหนก็แล้วแต่นั้นขึ้นอยู่กับรอยแผลที่ได้รับการผ่าตัด
- ตำแหน่งและทิศทางของการหลุด
- ถ้าเป็นการหลุดทางด้านหลัง งอสะโพก กางสะโพก และกาหมุนหัวสะโพกเข้าด้านใน
- ถ้าเป็นการหลุดทางด้านหน้า การเหยียดสะโพก การหุบสะโพก และการ หมุนหัวสะโพกออกด้านนอก
กายภาพบําบัดและฝึกการออกกำลังหลังการผ่าตัด
ระยะหลังผาตัดวันที่ 1-2
- ฝกหายใจลึกๆ
- กระดกขอเทาขึ้นลง
- ออกกําลังเกร็งกลามเนื้อ (Isometric exercise) ของกลามเนื้องอสะโพก เหยียดสะโพก และกางสะโพกในทานอน โดยมีหมอนหรืออุปกรณกางขา (Abductor brace) กั้นไว้ระหวางขาสองขาง
ระยะหลังผาตัดวันที่ 2-3
- การออกกําลังกายโดยใชเครื่องช่วยเช่นใชสายคลองการยืดกลามเนื้องอขอสะโพกเพื่อปองกันการหดยึดหดสั้นของกล้ามเนื้อในทางอสะโพกดวยวิธี modified Thomas stretch โดยงอเขาขางที่ไมผาตัดกอดเขาชิดอกและเกร็งกล้ามเนื้อเหยียด ขอสะโพกขางที่ผาตัดอยู่กับที่เรียกการออกกำลังกายชนิดนี้ว่า (Isometric exercise)
- ฝกยืนและเดนโดยใช้ เครื่องช่วยเดิน เช่ เครื่องชวยเดินไม้เท้า 4 ขา หรือไมค้ำยัน
- นั่งเกาอี้นานอยางนอย 30 นาทีวันละ 3 ครั้งโดยใหขอสะโพกอยในระดัสูงกวาข้อเข่า
ระยะหลังผาตัดวันที่ 4-7
- ฝกเดินเขาหองน้ําและขึ้นลงบันไดโดยใชเครื่องชวยเดิน
- เริ่ม ออกกำลังกายแบบ active ROM exercise ในทายืน เนนท่ากางขอสะโพก
- สอนการบริหารเพื่อเพิ่มกําลังกลามเนื้อรอบขอสะโพก สวนใหญผูปวยสามารถกลับบานไดหลังผาตัดประมาณ 5-7 วัน หลังจากนี้ควรออกกําลังเพื่อเพิ่มพิสัยการเคลื่อนไหวขอและเพิ่มกําลังกลามเนื้อรอบขอสะโพกและขอเข่าใหแข็งแรงขึ้น อาจจะใชการปนจักรยานอยูกับที่หรือออกกําลังกายในสระน้ำ โดยอาศัยแรงลอยตัวของน้ํา ชวยพยุงตัว ระยะหลังจะอาศัยแรงลอยตัวของน้ำเปนแรงตาน เพื่อออกกําลังกลามเนื้อใหแข็งแรงขึ้น
คลินิกกายภาพบำบัดเฟิร์ส ฟิสิโอ
ใกล้กับสหกรณ์โคนมหนองโพ จ.ราชบุรี
โทร 085-2644994
More