By Firstphysio Clinic
15 Jan, 2017
อุปกรณ์กายภาพบำบัด
TENS, กายภาพบำบัด, กิจกรรมบำบัด, คลินิก, บริบาล, ผู้สูงอายุ, ฟื้นฟู, ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ, อุปกรณ์กายภาพบำบัด, อุปกรณ์ดูแลคนแก่
เครื่องกระตุ้นประสาทด้วยไฟฟ้าผ่านผิวหนังเพื่อลดปวด
(Transcutaneous Electrical Nerve Stimulation, TENS)
– เป็นกระแสไฟฟ้ากระตุ้นประสาทผ่านผิวหนังเพื่อลดปวด
– phase duration ~80-500 µs โดยมีค่าความเข้ม ~50-100 mA และมีค่าความถี่ตั้งแต่ 2-150 Hz
– ลักษณะรูปคลื่นมีหลายรูปแบบขึ้นกับบริษัทที่ผลิต บางเครื่องเป็น monophasic บางเครื่องเป็น symmetrical biphasic หรือ asymmetrical biphasics pulse
– ส่วนใหญ่ให้ผลในการลดปวด โดยกระตุ้นเส้นประสาทรับความรู้สึกมากกว่ากระตุ้นเส้นประสาทยนต์
ชนิดของ TENS ซึ่งขึ้นกับคุณสมบัติของพารามิเตอร์
1.Conventional TENS หรือ HI-TENS
มีความถี่ประมาณ 50-150 Hz ช่วงกระตุ้นนอน โดยเพิ่มความเข้มของกระแสไฟจนกระทั่งผู้ป่วยรู้สึก โดยไม่เห็นการหดของกล้ามเนื้อขณะกระตุ้น การตั้งค่าพารามิเตอร์นี้พัฒนาจากพื้นฐานของทฤษฎี “gait control” พบว่าการกระตุ้นแบบ conventional mode นี้จะทำให้ผู้ป่วยรู้สึกสบาย แม้ว่าช่วงเวลาที่อาการปวดลดลงนี้จะสั้นและเกิดaccomadation ต่อตัวกระตุ้นสูง ถ้าเปรียบเทียบกับอันอื่น เมื่อกระตุ้นได้ 5-10 นาทีผู้ป่วยจะรู้สึกว่าความแรงของกระแสไฟลดลงแค่ความเป็นจริงคือผู้ป่วยเริ่มเกิดความเคยชินต่อการรับรู้(perception)ของความแรงของตัวกระตุ้นจนความรู้สึกเปลี่ยนไป
- Acupuncture-Like Or Lo-TENS
จะมีความถี่ประมาณ 1-4 Hz , pulse width > 200 µs โดยเพิ่มความเข้มของกระแสไฟจนถึงระดับ”patient tolerance” เป็นเวลา 20-30 นาที ต่อครั้ง ต่อวัน และทำให้เกิดการหดตัวของกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง
- BRIEF,INTENSE TENS
จะมีความถี่มากกว่า 100 Hz, pulse width 150-250 µs (ความถี่สูงช่วงกระตุ้นยาว)ตั้งความเข้มของกระแสไฟจนถึงระดับสูงสุดที่ผู้ป่วยจะทนได้หรือเรียกว่าระดับ”patient tolerance” การกระตุ้นนี้จะไปลด activity ของ A delta , C fiber ทำให้ conduction velocity ช้าลง
- BURST , OR PULSE-TRAIN TENS
เป็นการผสมผสานกันระหว่าง Hi-TENS กับ Lo-TENS คือมี High frequency ในลูกเล็กๆ(70-100Hz)และในลูกใหญ่1-4 Hz มักให้ผลในการรักษาดีเพราะผู้ป่วยรู้สึกสบายไม่เจ็บมาก
- MODULATED TENS
คือการมี pulse width และ pulse rate ที่เปลี่ยนแปลงไปซึ่งเชื่อว่ามีผลในการป้องกันการปรับตัว (adaption)ของใยประสาทต่อกระแสไฟ
ข้อบ่งชี้ทางคลินิก
อาการเจ็บปวดระยะเฉียบพลัน (acute pain)
การรักษาผู้ป่วยระยะเฉียบพลันมักได้ผลดีเมื่อรักษาด้วย conventional TENS (Hi-TENS) โดยTENS จะป้องกันการเกิดความเจ็บปวดจากการเกร็งค้างของกล้ามเนื้อในรายที่ยังมีความเจ็บปวดอยู่แต่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วย TENS มักถูกนำมาใช้ในการกระตุ้นลดปวดเพื่อให้ผู้ป่วยกลับสู่กิจวัตรประจำวันตามปกติโดย TENS มักถูกนำมาใช้ใน minor sport injury เช่น mild shoulder contusion , rib contusion , ankle sprain อย่างไรก็ตามนักกายภาพบำบัดควรมีความระมัดระวังและคำนึงถึงผู้ป่วยที่เป็นโรค rheumatoid และการบาดเจ็บในนักกีฬาเนื่องจากความเจ็บปวดอาจมีประโยชน์ในการป้องกันไม่ให้ส่วนนั้นๆของร่างกายถูกใช้งานมากเกินไปเพราะฉะนั้นการกระตุ้นด้วยTENS ควรใช้หลังช่วงที่มีการป้องกันไม่ให้ส่วนนั้นๆเคลื่อนไหวหรือใช้งานมากเกินไป
อาการเจ็บปวดระยะเรื้อรัง
ปัญหาทางคลินิกของผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บปวดระยะเรื้อรัง(chronic pain) ที่ต้องระมัดระวังคือผู้ป่วยที่ต้องพึ่งยา เช่น พวกที่มีปัญหาทางจิตเวชหรือมีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลง(behavior disturbances)นอนไม่หลับ ไม่อยากอาการบางคนจะมีการลดลงของ pain toleranceและมีการขาดสาร นอกจากจะลดปวดแล้วยังช่วยให้ผู้ป่วยเหล่านี้ไม่พยายามมากเกินไป รักษาหายแล้วได้ผลดีในกรณี เช่น LBP, rheumatoid arthritis, regeneration joint disease, causalgia , peripheral neuropthy , peripheral nerve injury , phantom pain , migrate headache
กลไกลและทฤษฏีความเจ็บปวด
ทางเดินประสาทรับความรู้สึกเจ็บปวด(Pain pathway)
Nociceptors
- Cutaneous Nociceptors เครื่องรับการกระตุ้นซึ่งทำให้เกิดความรู้สึกเจ็บปวดที่อยู่บริเวณ cutaneous แบ่งเป็น
- A delta fiber – small Myelinated nerve fiber
– ตอบสนองต่อตัวกระตุ้นเชิงกลที่รุนแรง(High threshold)
– ส่งกระแสประสาทความรู้สึกเจ็บปวดด้วยความเร็ว(fast pain)รู้ตำแหน่งที่แน่นอน ลักษณะเป็น pricking pain
- C fiber/free nerve ending เจ็บ(Subpain threshold) จะทำให้กระแสไฟฟ้าจาก A beta เอาชนะ กระแสไฟฟ้าที่มาจาก A delta , C fiber ด้วยเครื่องกระตุ้นชนิด Hi-TENS , IFC ช่วงความถี่สูง 100- 150Hz
การกระตุ้นเส้นประสาทเส้นใหญ่(A beta)จะช่วยลดปวดได้โดยการส่งกระแสประสาทไปเร้าที่ SG cellเพื่อให้SG cell เป็นตัวทำหน้าที่ยับยั้งการส่งผ่านของใยประสาท A delta, C fiber ที่ไปกระตุ้น T cell และตัวมันเองก็ทำหน้าที่ยับยั้ง T cell โดยตรงซึ่งเรียกการยับยั้งลักษณะนี้ว่า Gate close
ตรงกันข้าม small fiber จะไปลดการทำงาน SG cell และไปเพิ่มการทำงานของ T cell เพื่อให้กระแสไฟฟ้าที่นำความเจ็บปวดส่งผ่านไปยังสมอง เรียกว่า Gate open
- Morphine type
มีผลต่อ C fiber โดยการไปกระตุ้น A delta fiber ด้วยความถี่ต่ำๆและใช้ความเข้มของกระแสไฟระดับ suppain tolerance ( รู้สึกเจ็บจนทนไม่ได้) ด้วยเครื่องกระตุ้นชนิด Lo-TENS หลั่งกระตุ้นจะมีการหลังสาร neurotransmitter คือ enkephalin , beta-endorphin
– เส้นประสาทนี้ทำหน้าที่แยกแยะลักษณะต่างๆของความรู้สึกเจ็บปวด เช่น ความรุนแรงของตัวกระตุ้น ระยะเวลาในการกระตุ้นบริเวณที่มีการกระตุ้น
- Paleospinothalamic tract
– Synapse มาก ส่งกระแสประสาทได้ช้า
– เกิดร่วมกับอารมณ์ที่ไม่พึงพอใจและการตอบสนองโดยอัตโนมัติต่อความเจ็บปวด
- Spinoreticular tract
- Spinomesencephalic tract
– ไม่สามารถแยกแยะคุณลักษณะของความรู้สึกเจ็บปวดได้
– อาจกระตุ้น descending inhibitory activity
- Spinocervical fraction
– วิ่งตรงขึ้น lateral cervical nucleus
– สิ้นสุดที่ thalamus ด้านตรงข้าม
- ใยประสาทบางเส้นที่อยู่ใน dorsal column จะตอบสนองต่อตัวกระตุ้นที่ทำให้เกิดความเจ็บปวด
การควบคุมความรู้สึกเจ็บปวด(Control of pain)
- Gate Control Theory
มีผลทั้ง A delta และ C fiber ใน posterior horn จากการกระตุ้น mechanoreceptor ของ A bata fiber ด้วยความถี่สูง ด้วยความเข้มของกระแสไฟฟ้าระดับที่ไม่ทำให้ผู้ถูกกระตุ้นรู้สึกเจ็บ(subpain threshold) จะทำให้กระแสไฟฟ้าจาก A beta เอาชนะกระแสไฟฟ้าที่มาจาก A delta , C fiber ด้วยเครื่องกระตุ้นชนิด Hi-TENS,IFC ช่วงความถี่สูง 100-150 Hz
การกระตุ้นเส้นประสาทเส้นใหญ่(A beta) จะช่วยลดปวดได้โดยการส่งกระแสประสาทไปเร้าที่ SG cell เป็นตัวทำหน้าที่ยับยั้งการส่งผ่านของใยประสาท A delta, C fiber ที่ไปกระตุ้น T cell และตัวมันเองก็ทำหน้าที่ยับยั้ง T cell โดยตรง ซึ่งเรียกการยับยั้งลักษณะนี้ว่า Gate close
ตรงกันข้าม small fiber จะไปลดการทำงานของ SG cell และไปเพิ่มการทำงานของ T cell เพื่อให้กระแสไฟฟ้าที่นำความเจ็บปวดส่งผ่านไปยังสมองที่เรียกว่า Gate open
- Morphine type
มีผลต่อ C fiber โดยการไปกระตุ้น A delta fiber ด้วยความถี่ต่ำๆและใช้ความเข้มของกระแสไฟระดับ subpain tolerance(รู้สึกเจ็บจนแทปทนไม่ได้) ด้วยเครื่องกระตุ้น Lo-TENS หลังกระตุ้นจะมีการหลั่งสาร neurotransmitter คือ enkephalin,beta-endorphin
ตารางแสดงกระแสไฟฟ้าความถี่ต่ำชนิดต่างๆที่นำมาใช้ในทางกายภาพบำบัด
ความถี่(รอบ/วินาที) |
ช่วงกระตุ้น(มิลลิวินาที) |
ชื่อกระแสไฟฟ้า |
กระแสไฟตรง/สลับ |
ภาวะที่ใช้ในกายภาพบำบัด |
0 |
|
ไฟตรง |
|
ผลักดันน้ำยาเข้าไปในร่างกายลดบวม ลดปวด |
50 |
|
ไซนูซอยด์(sinusoid) |
|
การแพลงของกล้ามเนื้อและข้อต่อ เพิ่มการไหลเวียน |
|
|
ไดอัพไดนามิค |
|
|
|
|
ฟาราดิก |
|
|
|
|
ตรงเป็นช่วงๆ |
|
การแพลงของกล้ามเนื้อและข้อต่อ ลดปวด เพิ่มการไหลเวียน |
|
|
ทีอีเอ็นเอส |
|
ลดปวด ลดการเกร็ง |
|
|
ตรงศักย์สูง |
|
ลดปวด กระตุ้นกล้ามเนื้อที่มีเส้นประสาทมาเลี้ยง |
|
|
อินเตอเฟอเรนเชียล |
|
ลดปวด
กระตุ้นกล้ามเนื้อที่มีเส้นประสาทมาเลี้ยง |
>>> ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://www.firstphysioclinics.com
>>> เฟิร์สฟิสิโอคลินิกกายภาพบำบัด (FIRSTPHYSIO)
>> > LINE ID: 0852644994
>>> TEL. 085-264-4994ตอนที่18
More
By Firstphysio Clinic
15 Jan, 2017
อุปกรณ์กายภาพบำบัด
Contraction, กายภาพบำบัด, กิจกรรมบำบัด, คลินิก, บริบาล, ผู้สูงอายุ, ฟื้นฟู, ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ, อุปกรณ์กายภาพบำบัด, อุปกรณ์ดูแลคนแก่
คำแนะนำในการออกกำลังกายให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ของการออกกำลังกาย |
Muscular Endurance |
Hypertrophy |
Maximal Strength |
Power |
ลักษณะการหดตัวของกล้ามเนื้อ |
Ecc:Con |
Ecc:Iso:Con |
Ecc:Iso:Con |
Ecc:Con |
ความหนักของการออกกำลังกาย |
1-3 sets x
15-20RM |
4-6 sets x
8-15RM |
3-5 sets x
3-8RM |
3-5 sets x
1-3RM |
ลักษณะการเคลื่อนไหว |
Single & multi-
Joints exercise |
Single & multi-
Joints exercise |
Single & multi-
Joints exercise |
Multi-Joints exercise |
ลำดับการออกกำลังกาย |
ปรับเปลี่ยนได้ไม่จำกัด |
กล้ามเนื้อมัดใหญ่ก่อนกล้ามเนื้อมัดเล็ก |
กล้ามเนื้อมัดใหญ่ก่อนกล้ามเนื้อมัดเล็ก |
กล้ามเนื้อมัดใหญ่ก่อนกล้ามเนื้อมัดเล็ก |
ระยะเวลาพัก |
30-60 วินาที |
1-2 นาที |
3-5 นาที |
5-8 นาที |
จังหวะการเคลื่อนไหว |
1:0:1 |
2:1:2 |
1:1:1 |
เคลื่อนไหวให้เร็วที่สุด |
ความถี่ในการออกกำลังกาย |
2-3 วัน/สัปดาห์ |
3-5 วัน/สัปดาห์ |
3-5 วัน/สัปดาห์ |
4-6 วัน/สัปดาห์ |
หมายเหตุ: Ecc หมายถึง Eccentric Contraction
Con หมายถึง Concentric Contraction
Iso หมายถึง Isometric Contraction
>>> ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://www.firstphysioclinics.com
>>> เฟิร์สฟิสิโอคลินิกกายภาพบำบัด (FIRSTPHYSIO)
>> > LINE ID: 0852644994
>>> TEL. 085-264-4994ตอนที่18
More
By Firstphysio Clinic
15 Jan, 2017
อุปกรณ์กายภาพบำบัด
Balance, กายภาพบำบัด, กิจกรรมบำบัด, คลินิก, บริบาล, ผู้สูงอายุ, ฟื้นฟู, ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ, อุปกรณ์กายภาพบำบัด, อุปกรณ์ดูแลคนแก่
ความสามารถในการทรงตัว (Balance)
- Sitting Balance
- นั่งบนเก้าอี้แข็ง เท้าวางบนพื้น ศีรษะและลำตัวตรงไม่เอียงไปด้านใดด้านหนึ่ง
- นั่งบนเก้าอี้แข็ง เท้าลอยพ้นพื้น ศีรษะและลำตัวตรงไม่เอียงไปด้านใดด้านหนึ่ง
- นั่งบนเก้าอี้ เท้าวางพื้น ให้ยกมือขึ้นข้างเดียวหรือประสานมือทั้งสองข้างเข้าด้วยกันแล้วเคลื่อนไปในทิศทางต่างๆ เช่น ด้านหน้า ซ้าย ขวา บนและล่าง เป็นต้น
- นั่งบนเก้าอี้ เท้าลอยพ้นพื้น กอดอก ให้ผู้ตรวจจับพยุงที่บริเวณไหล่ทั้งสองข้างแล้วเคลื่อนไปในทิศทางต่างๆ เช่น ด้านหน้า หลัง ซ้าย ขวา หมุนไปด้านซ้ายและไปหมุนไปด้านขวา เป็นต้น
- นั่งเก้าอี้ และฝึกโยนรับ-ส่งลูกบอลในท่าทางและมุมต่างๆ
- ฝึกเอื้อมหยิบของในทิศทางต่างๆ
- Standing Balance
- ยืนโดยไม่มี support ศีรษะและลำตัวตรง สะโพกและเข่าเหยียดตรง
- ยืนบนพื้นแข็งแล้วเปลี่ยนเป็นพื้นอ่อนนุ่ม และบนพื้นเรียบ/พื้นขรุขระ ด้วยลักษณะเท้าห่างกัน/ชิดกัน
- ยืน 2 ขา/ข้างเดียว โดยใช้มือจับ/ไม่จับอุปกรณ์ช่วย และลืมตา/หลับตา
2.2 Dynamic
– ยืนโดยไม่มี support ให้เอื้อมมือไปแตะที่เป้าหมายในทิศทางต่างๆ เช่น ด้านหน้า ซ้าย ขวา เป็นต้น
– ฝึกเตะลูกบอลไปข้างหน้า เตะเข้าหาผนัง และผ่านสิ่งกีดขวาง โดยใช้ขาทั้งสองสลับกัน
>>> ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://www.firstphysioclinics.com
>>> เฟิร์สฟิสิโอคลินิกกายภาพบำบัด (FIRSTPHYSIO)
>> > LINE ID: 0852644994
>>> TEL. 085-264-4994ตอนที่18
More
ส่วนที่ 2 ประเด็นการประเมิน
- สิ่งที่ควรที่เพิ่มเติมเพื่อให้รายงานนี้สมบูรณ์คือ ไม่มี เนื่องจากผู้วิจัยได้รายงานส่วนต่างๆ ได้ค่อนข้างชัดเจนและได้รายงานผลลัพธ์อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
- ข้อเสนอแนะสำหรับผู้วิจัยเพื่อปรับปรุง (เช่น ควรมีการพบปะสม่ำเสมอ ควรมีรายงานความก้าวหน้าสม่ำเสมอ ความสัมพันธ์ในการทำงานวิจัยร่วมกัน เป็นต้น) ผู้วิจัยควรจะมีการรายงานปัญหาและการแก้ไขปัญหากับผู้ประกอบการเป็นระยะๆ นอกจากนี้ผู้ประกอบการยินดีให้ความช่วยเหลือหากต้องการความช่วยเหลือ หากเกิดปัญหาและอุปสรรคต่างๆ
- ข้อเสนอแนะในการทำวิจัย (เช่น ควรทำวิจัยให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ประกอบการแต่อยู่ภายใต้กรอบของโครงการวิจัย) หรือแนวทางในการพัฒนางานวิจัยให้นำไปสู่การใช้ประโยชน์ได้จริง แนะนำให้ทีมผู้วิจัยพยายามพัฒนาอุปกรณ์ให้ใช้ได้ง่าย และสามารถใช้ไปได้จริงในสถานที่ต่างๆ เช่น คลินิก โรงพยาบาล และในชุมชนต่างๆ ซึ่งในขณะนี้ผู้วิจัยอยู่ในช่วงของการเก็บข้อมูล หากได้ผลการศึกษาแล้วขอให้แจ้งผลกับทางผู้ประกอบการด้วย
- ท่านคิดว่าปัญหาที่นำเสนอก่อให้เกิดผลกระทบอะไรบ้างต่อกิจการของท่าน จงอธิบาย (โปรดตีเป็นมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์) ไม่มี โดยคาดว่าหลังการอุปกรณ์เรียบร้อย และได้ผลจากการศึกษาแล้ว ผู้ประกอบการน่าจะสามารถนำมาใช้ในคลินิกกายภาพบำบัดของผู้ประกอบการได้มี เนื่องจากคลินิกของผู้ประกอบการมักจะการจัดโครงการการตรวจสุขภาพต่างๆ ให้กับหน่วยงานต่างๆ ค่อนข้างบ่อย การมีอุปกรณ์วัดและติดตามภาวะกระดูกสันหลังค่อมที่ใช้ได้ง่ายจะเป็นประโยชน์กับการจัดกิจกรรมของคลินิกให้มีความหลายหลายและน่าสนใจมากยิ่งขึ้น
- ท่านคาดว่าผลของการวิจัยมีความสำคัญและเกิดประโยชน์ต่อกิจการของท่าน
þมาก * ปานกลาง * น้อย * น้อยที่สุด
- ประโยชน์ที่ท่านคาดว่าจะได้รับหากงานวิจัยนี้สำเร็จ (โปรดตีเป็นมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์และจงอธิบายในรายละเอียด)
*ลดต้นทุน (Cost Reduction) คิดเป็นมูลค่า บาท
* ผลผลิตที่ได้ (Yield) เพิ่มขึ้น คิดเป็นมูลค่า บาท
*ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ (New product) คิดเป็นมูลค่า บาท
þอื่นๆ โปรดระบุ ผลงานที่ได้จากการศึกษานี้น่าจะช่วยให้การบริการของคลินิกทั้งในคลินิกและในสถานที่ต่างๆ มีความหลากหลายและน่าสนใจมากยิ่งขึ้น อีกทั้งสามารถใช้ในการคัดกรองความผิดปกติของผู้ที่มารับบริการการรักษาของคลินิกได้
- สมควรรับรองรายงานความก้าวหน้าหรือไม่
þ รับรอง * ไม่รับรอง
ผู้ประเมิน
( )
วันที่เดือนพ.ศ. .
>>> ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://www.firstphysioclinics.com
>>> เฟิร์สฟิสิโอคลินิกกายภาพบำบัด (FIRSTPHYSIO)
>> > LINE ID: 0852644994
>>> TEL. 085-264-4994ตอนที่18
More